Graphic Design Trend ที่มาแรงในปี2016 และแหล่งรูปภาพฟรี

ในยุคที่สื่อดิจิทัลกำลังมีบทบาทมากขึ้น งานกราฟฟิคจึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่กับที่ แต่หากมีการปรับเปลี่ยนหยิบสิ่งเก่ามาปัดฝุ่นปรับปรุงและประยุกต์ให้เข้ากับกระแสสังคมใหม่ๆ เพื่อนำเสนอผลงานผ่านสื่อหลากรูปแบบ งานออกแบบก็เป็นอีกสิ่งที่ไม่หยุดนิ่งและไม่มีความตายตัว มาดูกันว่าแนวไหนมาแรงในปีนี้

1. ย้อนยุคแต่ทันสมัย
แบบย้อนยุคแต่ทันสมัยทำให้งงมั้ยครับ? ไม่งงเนอะ… เพราะงานย้อนยุคแบบทันสมัยมันก็หมายถึงการวาดหรือสร้างสรรค์ งานกราฟฟิคที่มีกลิ่นอายแบบยุคสมัยเก่าหรือที่เราเรียกติดปากว่าเรโทรนั่นแหละ แต่สร้างด้วยเทคนิคสมัยใหม่ โดยอาจจะหยิบยืมรูปแบบหรือสไตล์มาจากงานออกแบบ แฟชั่น กราฟฟิก วัฒนธรรม อะไรต่างๆในยุคโน้นนั่นเอง

ดูไอเทมสุดฮอตเหล่านี้สิครับ มันถูกนำมาวาดใหม่ด้วยสีสันฉูดฉาดและด้วยรูปแบบ Flat Design ทำให้ความเก่ากลายเป็นความเก๋ขึ้นมาเลย

แผ่นเสียงไวนิลในรูปแบบกราฟฟิกเรียบๆแบบมินิมอล

210-662x413
The Welcome Branding Group

หรือจะเป็นแบรนด์เครื่องเขียนที่หยิบเอากราฟฟิกที่เคยฮอตสุดๆในยุค 80s กลับมาปัดฝุ่นก็ดูจี๊ดจ๊าดโดนใจ

3-662x529
Write Sketch &

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.25.14-PM-662x662
Officemilano

แม้แต่ Coca Cola ก็เอากับเขาด้วยการทำกระป๋องพิเศษ Pixel Edition Screen กระป๋องเป็นกราฟฟิก Pixel 8Bit มันซะเลย 

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.30.14-PM-662x1014
Erin L. M. McGuire

2. Material Design

6-662x295
Google

Material Design คือไกด์ไลน์หรือเรียกง่ายๆว่าระเบียบการที่ออกมาโดย Google ว่าการออกแบบอินเตอร์เฟซของอะไรก็ตามที่จะถูกนำมาใช้ในจักรวาลของกูเกิ้ลควรปฏิบัติตามนี้ เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน หรือเรียกอีกอย่างว่ากูเกิ้ลพยายามจะพัฒนา “ภาษาภาพ” ให้ใช้ร่วมกันนั่นเอง ซึ่งมันมีหลักการและองค์ประกอบมากมาย ไม่ใช่แค่เรื่องรูปแบบอย่างเดียว ซึ่งผู้สนใจเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ Google Material Design

ในมุมมองของผมถ้าจะสรุปความสั้นๆของกราฟฟิกดีไซน์รูปแบบนี้ผมขอพูดว่ามันคือ กราฟฟิกสองมิติ ที่ถูกใช้งานเสมือนสามมิติ เพราะมันใช้พื้นสีพื้น Solid เรียบๆผนวกเข้ากับการจัดวางแบบมีลำดับชั้น โดยใช้ Shadow ในการแบ่งสัดส่วนเนื้อหาต่างๆ ในขณะที่ภาพรวมก็จะยังดูง่าย และเหมาะกับการใช้งานในสื่ออย่าง Smartphone อย่างที่เจตนาตั้งต้นของ Google ต้องการจะเป็นนั่นเอง

แต่ก็ใช่ว่าเราจำเป็นต้องทำตามไกด์บุ๊คของกูเกิ้ลไปเสียหมด ดีไซเนอร์สามารถประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย อย่างเช่นงานเว็บนี้ก็แสดงให้เราเห็นว่าองค์ประกอบที่เป็นสี เมื่อมาอยู่กับ Shadow ที่เป็น Diffuse Shadow ( นี่ก็เทรนด์ใหม่เช่นกัน ) ก็ทำให้สีพื้นเรียบๆดูมีมิติสวยงามได้เช่นกัน

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.33.59-PM-662x496
Balraj Chana

หรือจะไม่ Diffuse Shadow ก็ไม่ว่ากัน แต่พอนำมาเติม Gradient ด้วยคู่สีเหมาะๆก็ดูดีได้อีกเหมือนกัน

81-662x662
Disky Chairiandy

 

หรือจะนำไปใช่ร่วมกับภาพวัตถุจริงๆที่วางบนพื้นสีสดสไตล์ Matterial Design ก็ทำให้งานดูน่าสนใจได้

91-662x893
Al Rayhan

และถ้าคุณกำลังสงสัยว่าจะเอาสีสดจัดจ้านแบบนี้มาใช้จากไหนก็ตามไปที่นี่เลยMatterial Pallete


3. กราฟฟิกสีสันสดใส
ความสดของสีที่แทบจะสะท้อนแสงอยู่แล้ว ก็เป็นอีกเทรนด์ที่น่าจะมาแรงเช่น เพราะเฉดสีที่สวยๆมากมายได้ถือกำเนิดขึ้นในปี 2016 นี้ ขนาด Pnatone ยังกำหนดสีประจำปีให้หวานจ๋อยเสียขนาดนี้ แสดงว่าธีมสีแบบนี้มาแรงจริงๆ

ซึ่งจระกูลสีสดแบบนี้บางทีก็ใกล้เคียงกับ Pastel  หรือ Neon แต่ถึงแม้จะเป็นสีสดใสก็จริง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการมีสีหวานๆสีเดียวจะรอด มันจำเป็นต้องมีคู่สีที่เหมาะสมกันมาอยู่ร่วมกันมันจึงจะดูน่าสนใจครับ ลองดูตามตารางสีด้านล่างนี้ก็ได้ลองจับมาแมตซ์กันดู

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.39.28-PM-662x668
Pantone’s Spring 2016 Color Report

หรือลองดูวิธีการใช้เฉดสีแบบ neon ที่ออกเขียวแต่เป็นเขียวหวานๆมาจับคู่กับเหลืองหม่นหน่อย และเบรคความหวานด้วยสีดำ ทำให้ภาพรวมของโปสเตอร์นี้ดูเปรี้ยวเท่ขึ้นมาทันที

112-662x993
In the Pool

และอีกวิธีการใช้สีสดสไตล์ Pastel ได้อย่างน่าดูชมก็คือ การใช้เป็น Gradient Shade ในการไล่สองสีไปบนภาพถ่ายแล้วใช้ Blending Mode เพื่อสร้างความกลมกลืนและเห็นความเหลื่อมของส่วนที่มืดและสว่างในภาพ เมื่อถูกย้อมไปกับเฉดสีสดใสก็เกิดเป็นภาพที่ดูสวยทันสมัยดี

connection-fullres-662x1381
Michael Fangman

หรือการเอาแรงบันดาลใจในยุคสมัยที่การพิมพ์ CMYK ยังเป็นทางเลือกเดียวของการ Output ผลงาน ทำให้การใช้กราฟฟิคประเภท ลายเส้น เรขาคณิต ลายจุด ฯลฯ ที่มีสีสดหลายๆสีมาจัดวางในภาพเดียวกันก็จะกลับมาให้เห็นอีกครั้งแต่ไม่่ใช่ด้วยข้อจำกัดเรื่องการพิมพ์เหมือนสมัยก่อน แต่เป็นเรื่องความเก๋ล้วนๆ

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.30.10-PM-662x846
Tron Burgundy

4. รูปทรงเรขาคณิต Geometric

รูปทรงเรขาคณิต ( Geometric ) ก็ตือมรดกตกทอดในยุค 80s ที่ได้กล่าวถึงมาก่อนหน้านี้  ที่จะกลับมาสร้างความตื่นตาในยุคสมัยนี้ โดยการใช้กราฟฟิกง่ายๆอย่าง สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ลายขวาง ลายจุด เส้นเฉียง มาใช้เป็นองค์ประกอบหลักของดีไซน์

อย่างที่จะเห็นกันบ่อยๆเลยก็ต้องนี่ครับ Low Polygon ที่ใข้สามเหลี่ยมเฉดสีต่างๆมาวางประกบกันด้วยส่วนมืดส่วนสว่าง เพื่อสร้างมิตืที่เป็นเป็นเหลี่ยมเป็นมุม เราจะพบได้บ่อยในงาน Background ต่างๆ

141-662x1119
Vivek Venkatraman

หรือจะใช้การผสมผสานของกราฟฟิกหลัก 2-3 อย่างจนเป็นรูปแบบเฉพาะ เหมือนนามบัตรด้านล่างนี้

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.48.28-PM-662x465

หรือจะใช้รูปทรงเดียวอย่างหกเหลี่ยม แต่ไปมีลูกเล่นที่การจัดวางให้มีรูปแบบเฉพาะเช่น Pattern หรือ การใช้ขนาดที่แตกต่างให้ดูน่าสนใจมากขึ้นก็ได้เช่นกัน

162-662x566
Kyle Anthony Miller

แม้กระทั่งการนำทรงสามเหลี่ยมมาวางเรียงแบบเป็นระเบียบ แต่ด้วยการใช้สีที่แตกต่างกันเป็นการบอกเล่าเรื่องราวก็น่าสนใจ เช่นกล่องบรรจุขนมที่ใช้สีตามรสชาติผลไม้ของกล่องนั้นๆมาจัดวางบน pattern ทรง Polygon นี้Screen-Shot-2016-01-15-at-2.50.19-PM-662x276
Bag of Bees

 

และสุดท้ายแค่มีวงกลมกับสี่เหลี่ยมก็สามารถทำให้เกิดรูปแบบเฉพาะตัวได้แล้ว เพียงแต่ต้องมีความเข้าใจในการใช้คู่สีเข้ามาร่วมสนุกด้วย

181-662x497
Simeon

5. Nagative Space

และนี่ก็เป็นขาประจำที่ยังเป็นที่นิยมได้เรื่อยๆไม่เสื่อมเลย คือการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ว่างเปล่าทั้งส่วนเข้มและส่วนสว่าง มันก็คล้ายๆหลักการออกแบบโลโก้ที่พยายามให้ความหมายกับกราฟฟิกที่มองได้สองทาง

อย่างพื้นฐานเลยก็จะเป็นแบบตัวอย่างข้างล่าง การออกแบบให้มองเป็นหงส์ก็ได้เป็ดก็ได้

192-662x865
John Randall

หรืออีกรูปแบบก็คือการใช้ Space ที่อยู่บนภาพเอง โดยการเจาะขาวด้วยกราฟฟิกบางอย่างเพื่อใช้พื้นหลังเป็นตัวกราฟฟิกเสียเอง ดังตัวอย่างที่เขาแถบสีขาวมาวางบนภาพเพื่อดึงให้พื้นหลังกลายเป็นตัวหนังสือ SH FT ซะเอง โดยการใช้สีขาวกั้นให้เกิดรูปทรงนั่นเอง

202-662x345
Sameer Ahmed

งาน 123 ปีดนตรีอังกฤษ ที่ถ่ายทอดผ่านเล็ข 1 2 3 เป็นทรงกีต้าใหญ่ได้สวยงามลงตัว

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.56.48-PM-662x935
Sam Hadley

 

ลองมาดูอะไรที่ Abstract และดูยากกันบ้างดีกว่า ลองดูอันนี้เผินๆเราคงเห็นแค่ริบบิ้นริ้วๆ ที่ไม่รู้ว่าคืออะไร แต่ถ้าเรามองเข้าไปในพื้นที่ว่างเราจะเห็นสัตว์ 6 ชนิดเลยนะครับ!!
White Space : นก กระต่าย สุนัข  Black Space : แมว กอลิล่า หมี

221-662x462
Andrea Minini

นี่ก็เป็นปกหนังสือที่ถูกออกแบบมาจากชื่อหนังสือคือศิลปะการแช่น้ำ ก็เลยใช้ลายเส้นภาพคนและทำซ้ำเส้นให้กระจายออกมาเป็นวงน้ำซะเลย…

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.59.24-PM-662x863

Jason Booher

6. Modular Layouts

อาจฟังดูไม่ค่อยคุ้นเท่าไหร่กับคำว่า Modular Layout แต่ถ้าบอกว่ามันคือการดีไซน์แบบ Card ที่เป็นที่นิยมในหมู่นังออกแบบเว็บไซต์ หรือ แอพพลิเคชั่น  UI/UX น่าจะพอเข้าใจมากกว่า ซึ่งรูปแบบนี้เนี้ยไม่ใช่สิ่งใหม่ เพราะอย่างที่บอกว่ามันคือรูปแบบที่มักใช้ออกแบบ เว็บไซต์หรือ แอพพลิเคชั่นการมาซักพักใหญ่แล้ว โดยรูปแบบของมันก็จะเป็นการนำส่วนต่างๆมาสอดประสาน ซ้อนทับ หรือรวมเข้าด้วยกัน ด้วย Grid System ที่ถูกกำหนด แต่จะคงความยืดหยุ่นสามารถสลับย้ายตำแหน่งกันได้โดยที่ Theme โดยรวมไม่เปลี่ยนไป

เราจึงเห็นมันเป็นเหมือนการ์ดที่สามารถเลื่อนไปมา นำไปทับหรือสอดใว้ใต้การ์ดอื่นให้เห็นการ์ดแค่บางส่วนก็ยังได้

จากเว็บไซต์นี้นอกจากระบบระเบียบของ Layout ที่เป็น Grid ดูมีระเบียบเรียบร้อยแล้ว ความเป็น Modular อีกอย่างคือ Navigation ต่างๆที่ใช้จะมีลักษณะลอยมาด้านหน้าขณะใช้งานนั่นเอง

242-662x700
Balraj Chana

หรือบางทีก็ไม่จำเป็นต้องจัดวางให้เป็นระเบียบเกินไปก็ย่อมได้ อย่างเช่นตัวอย่างด้านล่างที่จัดให้มีการวางที่เหลื่อมล้ำกันพอประมาณ

252-662x497
Natalie Armendariz

หรือจะผสมกันโดยที่ Grid หลักก็ยังเป็นระเบียบเรียบร้อย แต่ก็มีการเหลื่อมหรือการผสานกันของกลุ่มก้อนที่น่าสนใจอยู่ด้วย

262-662x1258
Julien Renvoye

 

7. Dramatic Typhography
มันคงไม่ใช่แค่การทำให้ตัวอักษรดูใหญ่ หนา เด่น ชัดอ่านง่ายเพียงเท่านั้น แต่การออกแบบ Typeface ที่ควรจะมาพร้อมกับ Story ที่บอกเล่าเรื่องราวและบุคลิก หรือที่มาที่ไปของตัวอักษรนั้นๆได้ด้วย อาจจะด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่นการใช้รูปทรง การทำเป็นงาน Craft หรือ การใช้ Texture ก็ได้

อย่างปก Magazine ก็ถูกสร้างขึ้นมาอย่างปราณีตสุดๆ ด้วยการใช้วัสดุจริงมาทำเป็น Typography แน่นอนว่ามันดูมีเสนห์กว่าการใช้ฟ้อนต์สำเร็จรูปเยอะเลย

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.09.30-PM-662x443
SNASK

แต่ก็ใช่ว่าต้องทำมืออย่างเดียวเท่านั้นถึงจะมีเสน่ห์ได้ การจัดวางให้มีรูปแบบเฉพาะตัวก็สร้างบุคลิกภาพให้ชุดตัวอักษรนั้นได้เช่นกัน

291-662x828
Brendan Prince

หรือแม้แต่การใช้เส้นและสี ที่เพิ่มเติมกิมมิกเล็กๆคือแสงเงาของการม้วนเป็นตัวอักษร แม้จะดูเรียบแต่ก็ไม่น่าเบื่อ

และสุดท้ายการจัดวางที่แปลกตามารวมกับ Texture ที่เข้ากันก็สร้างความน่าสนใจได้เช่นเดียวกัน

311-662x816
Julie Joanny

8. Illustration เฉพาะตัว
ไม่ต้องกังวลเลยว่างาน Illustrate จะถูกงาน Graphic Stock เข้ามาแทนที่ ถึงแม้ยุคนี้จะมี Stock สำเร็จรูปให้เลือกซื้อมากมาย แต่ก็อย่างที่เราเห็นกันหลาย Illustration บางอย่าง มันซ้ำและดูดาษดื่น ซึ่งมันก็มีกลุ่มตลาดใหญ่ๆลองรับอยู่แล้วแหละ แต่ศิลปินภาพประกอบที่มีรูปแบบของงานที่ค่อนข้างเป็นตัวของตัวเอง แตกต่างโดดเด่น อาจจะงานเข้าได้ เพราะแบรนด์ต่างๆย่่อมไม่อยากให้ตัวเองดูซ้ำ การเลือกใช้ภาพประกอบที่แตกต่างและถูกสร้างสรรค์ขึ้นแบบเฉพาะตัว จึงเป็นแนวทางที่จะมีมากขึ้น

ยกตัวอย่างเช่นภาพหน้าเว็บด้านล่างนี้ที่เป็นภาพแนว Flat Design แต่ก็มีองค์ประกอบเฉพาะขององค์กรผสมไปด้วย

32Vlad Shagov

หรือ Dropbox เองก็มีการใช้ภาพประกอบในเนื้อหาบริการ ด้วยลายเส้นที่ถูกวาดขึ้นมาเพื่อ Dropbox เท่านั้น ที่ช่วยสื่อถึงอารมณ์สบายๆ ของแบรนด์

33
Dropbox

หรือแม้แต่บน Packaging เองก็ยังสามารถใช้ภาพประกอบที่มีความ Unique สูงมาก

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.16.48-PM-662x354Screen-Shot-2016-01-15-at-3.16.58-PM-662x352
Saudade Tea’s

 

9.Abstract  Minimalistic
นี่คือสไตล์ที่เป็นเหมือนคู่ตรงข้ามกับกับความฉูดฉาดของยุค 80s เพราะมันคือความเรียบง่าย เส้นง่ายๆดูน้อย และมี Space เยอะ มาใช้งานร่วมกับรูปทรงที่ถูกบิดเบือนให้ดูเป็นนามธรรมแต่ยังคงความมินิมอลอยู่

ยกตัวอย่างเช่น Brand Identity ของสถาบันทางดนตรีที่หยิบเอารูปแบบส่วนหนึ่งของตัวโน๊ตมาทอนรูปทรงให้เรียบง่ายเหลือแค่เส้นกับสี่เหลี่ยมแต่ใช้การจัดวางเข้ามาช่วยทำให้มันดูรู้ว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับดนตรี

361-662x1321
Aurėja Jucevičiūtė

นี่ก็เป็นอีกตัวอย่างของ Abstract ที่ถูกใช้ร่วมกับ Typo ธรรมดามากแต่มีสไตล์

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.20.00-PM-662x498
Lukas Haider

และสุดท้ายมาดูกันที่ปกหนังสือพวกนี้ ที่แม้จะมีรูปทรงเรขาคณิตสีฉูดฉาด แต่พิ้นที่ส่วนใหญ่ก็เป็นพื้นขาว ( ความมินิมอลที่ชัดเจนอีกอย่างคือพื้นขาว แต่ถ้าเป็นสีต้องออกโทนสว่างมากๆเฉดพาสเทล ) มันจึงดูเรียบง่ายแต่ซ่อนนัยยะนามธรรมด้วยกราฟฟิกที่ดูนามธรรมนั่นเอง

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.21.57-PM-662x704
StudioBrave

39-662x296
Kajsa Klaesén

 


1. ย้อนยุคแต่ทันสมัย
แบบย้อนยุคแต่ทันสมัยทำให้งงมั้ยครับ? ไม่งงเนอะ… เพราะงานย้อนยุคแบบทันสมัยมันก็หมายถึงการวาดหรือสร้างสรรค์ งานกราฟฟิคที่มีกลิ่นอายแบบยุคสมัยเก่าหรือที่เราเรียกติดปากว่าเรโทรนั่นแหละ แต่สร้างด้วยเทคนิคสมัยใหม่ โดยอาจจะหยิบยืมรูปแบบหรือสไตล์มาจากงานออกแบบ แฟชั่น กราฟฟิก วัฒนธรรม อะไรต่างๆในยุคโน้นนั่นเอง

ดูไอเทมสุดฮอตเหล่านี้สิครับ มันถูกนำมาวาดใหม่ด้วยสีสันฉูดฉาดและด้วยรูปแบบ Flat Design ทำให้ความเก่ากลายเป็นความเก๋ขึ้นมาเลย

แผ่นเสียงไวนิลในรูปแบบกราฟฟิกเรียบๆแบบมินิมอล

210-662x413
The Welcome Branding Group

หรือจะเป็นแบรนด์เครื่องเขียนที่หยิบเอากราฟฟิกที่เคยฮอตสุดๆในยุค 80s กลับมาปัดฝุ่นก็ดูจี๊ดจ๊าดโดนใจ

3-662x529
Write Sketch &

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.25.14-PM-662x662
Officemilano

แม้แต่ Coca Cola ก็เอากับเขาด้วยการทำกระป๋องพิเศษ Pixel Edition Screen กระป๋องเป็นกราฟฟิก Pixel 8Bit มันซะเลย 

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.30.14-PM-662x1014
Erin L. M. McGuire

2. Material Design

6-662x295
Google

Material Design คือไกด์ไลน์หรือเรียกง่ายๆว่าระเบียบการที่ออกมาโดย Google ว่าการออกแบบอินเตอร์เฟซของอะไรก็ตามที่จะถูกนำมาใช้ในจักรวาลของกูเกิ้ลควรปฏิบัติตามนี้ เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน หรือเรียกอีกอย่างว่ากูเกิ้ลพยายามจะพัฒนา “ภาษาภาพ” ให้ใช้ร่วมกันนั่นเอง ซึ่งมันมีหลักการและองค์ประกอบมากมาย ไม่ใช่แค่เรื่องรูปแบบอย่างเดียว ซึ่งผู้สนใจเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ Google Material Design

ในมุมมองของผมถ้าจะสรุปความสั้นๆของกราฟฟิกดีไซน์รูปแบบนี้ผมขอพูดว่ามันคือ กราฟฟิกสองมิติ ที่ถูกใช้งานเสมือนสามมิติ เพราะมันใช้พื้นสีพื้น Solid เรียบๆผนวกเข้ากับการจัดวางแบบมีลำดับชั้น โดยใช้ Shadow ในการแบ่งสัดส่วนเนื้อหาต่างๆ ในขณะที่ภาพรวมก็จะยังดูง่าย และเหมาะกับการใช้งานในสื่ออย่าง Smartphone อย่างที่เจตนาตั้งต้นของ Google ต้องการจะเป็นนั่นเอง

แต่ก็ใช่ว่าเราจำเป็นต้องทำตามไกด์บุ๊คของกูเกิ้ลไปเสียหมด ดีไซเนอร์สามารถประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย อย่างเช่นงานเว็บนี้ก็แสดงให้เราเห็นว่าองค์ประกอบที่เป็นสี เมื่อมาอยู่กับ Shadow ที่เป็น Diffuse Shadow ( นี่ก็เทรนด์ใหม่เช่นกัน ) ก็ทำให้สีพื้นเรียบๆดูมีมิติสวยงามได้เช่นกัน

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.33.59-PM-662x496
Balraj Chana

หรือจะไม่ Diffuse Shadow ก็ไม่ว่ากัน แต่พอนำมาเติม Gradient ด้วยคู่สีเหมาะๆก็ดูดีได้อีกเหมือนกัน

81-662x662
Disky Chairiandy

 

หรือจะนำไปใช่ร่วมกับภาพวัตถุจริงๆที่วางบนพื้นสีสดสไตล์ Matterial Design ก็ทำให้งานดูน่าสนใจได้

91-662x893
Al Rayhan

และถ้าคุณกำลังสงสัยว่าจะเอาสีสดจัดจ้านแบบนี้มาใช้จากไหนก็ตามไปที่นี่เลยMatterial Pallete


3. กราฟฟิกสีสันสดใส
ความสดของสีที่แทบจะสะท้อนแสงอยู่แล้ว ก็เป็นอีกเทรนด์ที่น่าจะมาแรงเช่น เพราะเฉดสีที่สวยๆมากมายได้ถือกำเนิดขึ้นในปี 2016 นี้ ขนาด Pnatone ยังกำหนดสีประจำปีให้หวานจ๋อยเสียขนาดนี้ แสดงว่าธีมสีแบบนี้มาแรงจริงๆ

ซึ่งจระกูลสีสดแบบนี้บางทีก็ใกล้เคียงกับ Pastel  หรือ Neon แต่ถึงแม้จะเป็นสีสดใสก็จริง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการมีสีหวานๆสีเดียวจะรอด มันจำเป็นต้องมีคู่สีที่เหมาะสมกันมาอยู่ร่วมกันมันจึงจะดูน่าสนใจครับ ลองดูตามตารางสีด้านล่างนี้ก็ได้ลองจับมาแมตซ์กันดู

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.39.28-PM-662x668
Pantone’s Spring 2016 Color Report

หรือลองดูวิธีการใช้เฉดสีแบบ neon ที่ออกเขียวแต่เป็นเขียวหวานๆมาจับคู่กับเหลืองหม่นหน่อย และเบรคความหวานด้วยสีดำ ทำให้ภาพรวมของโปสเตอร์นี้ดูเปรี้ยวเท่ขึ้นมาทันที

112-662x993In the Pool

และอีกวิธีการใช้สีสดสไตล์ Pastel ได้อย่างน่าดูชมก็คือ การใช้เป็น Gradient Shade ในการไล่สองสีไปบนภาพถ่ายแล้วใช้ Blending Mode เพื่อสร้างความกลมกลืนและเห็นความเหลื่อมของส่วนที่มืดและสว่างในภาพ เมื่อถูกย้อมไปกับเฉดสีสดใสก็เกิดเป็นภาพที่ดูสวยทันสมัยดี

connection-fullres-662x1381
Michael Fangman

หรือการเอาแรงบันดาลใจในยุคสมัยที่การพิมพ์ CMYK ยังเป็นทางเลือกเดียวของการ Output ผลงาน ทำให้การใช้กราฟฟิคประเภท ลายเส้น เรขาคณิต ลายจุด ฯลฯ ที่มีสีสดหลายๆสีมาจัดวางในภาพเดียวกันก็จะกลับมาให้เห็นอีกครั้งแต่ไม่่ใช่ด้วยข้อจำกัดเรื่องการพิมพ์เหมือนสมัยก่อน แต่เป็นเรื่องความเก๋ล้วนๆ

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.30.10-PM-662x846
Tron Burgundy

4. รูปทรงเรขาคณิต Geometric

รูปทรงเรขาคณิต ( Geometric ) ก็ตือมรดกตกทอดในยุค 80s ที่ได้กล่าวถึงมาก่อนหน้านี้  ที่จะกลับมาสร้างความตื่นตาในยุคสมัยนี้ โดยการใช้กราฟฟิกง่ายๆอย่าง สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ลายขวาง ลายจุด เส้นเฉียง มาใช้เป็นองค์ประกอบหลักของดีไซน์

อย่างที่จะเห็นกันบ่อยๆเลยก็ต้องนี่ครับ Low Polygon ที่ใข้สามเหลี่ยมเฉดสีต่างๆมาวางประกบกันด้วยส่วนมืดส่วนสว่าง เพื่อสร้างมิตืที่เป็นเป็นเหลี่ยมเป็นมุม เราจะพบได้บ่อยในงาน Background ต่างๆ

141-662x1119
Vivek Venkatraman

หรือจะใช้การผสมผสานของกราฟฟิกหลัก 2-3 อย่างจนเป็นรูปแบบเฉพาะ เหมือนนามบัตรด้านล่างนี้

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.48.28-PM-662x465

หรือจะใช้รูปทรงเดียวอย่างหกเหลี่ยม แต่ไปมีลูกเล่นที่การจัดวางให้มีรูปแบบเฉพาะเช่น Pattern หรือ การใช้ขนาดที่แตกต่างให้ดูน่าสนใจมากขึ้นก็ได้เช่นกัน

162-662x566Kyle Anthony Miller

แม้กระทั่งการนำทรงสามเหลี่ยมมาวางเรียงแบบเป็นระเบียบ แต่ด้วยการใช้สีที่แตกต่างกันเป็นการบอกเล่าเรื่องราวก็น่าสนใจ เช่นกล่องบรรจุขนมที่ใช้สีตามรสชาติผลไม้ของกล่องนั้นๆมาจัดวางบน pattern ทรง Polygon นี้Screen-Shot-2016-01-15-at-2.50.19-PM-662x276Bag of Bees

 

และสุดท้ายแค่มีวงกลมกับสี่เหลี่ยมก็สามารถทำให้เกิดรูปแบบเฉพาะตัวได้แล้ว เพียงแต่ต้องมีความเข้าใจในการใช้คู่สีเข้ามาร่วมสนุกด้วย

181-662x497Simeon

5. Nagative Space

และนี่ก็เป็นขาประจำที่ยังเป็นที่นิยมได้เรื่อยๆไม่เสื่อมเลย คือการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ว่างเปล่าทั้งส่วนเข้มและส่วนสว่าง มันก็คล้ายๆหลักการออกแบบโลโก้ที่พยายามให้ความหมายกับกราฟฟิกที่มองได้สองทาง

อย่างพื้นฐานเลยก็จะเป็นแบบตัวอย่างข้างล่าง การออกแบบให้มองเป็นหงส์ก็ได้เป็ดก็ได้

192-662x865John Randall

หรืออีกรูปแบบก็คือการใช้ Space ที่อยู่บนภาพเอง โดยการเจาะขาวด้วยกราฟฟิกบางอย่างเพื่อใช้พื้นหลังเป็นตัวกราฟฟิกเสียเอง ดังตัวอย่างที่เขาแถบสีขาวมาวางบนภาพเพื่อดึงให้พื้นหลังกลายเป็นตัวหนังสือ SH FT ซะเอง โดยการใช้สีขาวกั้นให้เกิดรูปทรงนั่นเอง

202-662x345Sameer Ahmed

งาน 123 ปีดนตรีอังกฤษ ที่ถ่ายทอดผ่านเล็ข 1 2 3 เป็นทรงกีต้าใหญ่ได้สวยงามลงตัว

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.56.48-PM-662x935
Sam Hadley

 

ลองมาดูอะไรที่ Abstract และดูยากกันบ้างดีกว่า ลองดูอันนี้เผินๆเราคงเห็นแค่ริบบิ้นริ้วๆ ที่ไม่รู้ว่าคืออะไร แต่ถ้าเรามองเข้าไปในพื้นที่ว่างเราจะเห็นสัตว์ 6 ชนิดเลยนะครับ!!
White Space : นก กระต่าย สุนัข  Black Space : แมว กอลิล่า หมี

221-662x462Andrea Minini

นี่ก็เป็นปกหนังสือที่ถูกออกแบบมาจากชื่อหนังสือคือศิลปะการแช่น้ำ ก็เลยใช้ลายเส้นภาพคนและทำซ้ำเส้นให้กระจายออกมาเป็นวงน้ำซะเลย…

Screen-Shot-2016-01-15-at-2.59.24-PM-662x863

Jason Booher

6. Modular Layouts

อาจฟังดูไม่ค่อยคุ้นเท่าไหร่กับคำว่า Modular Layout แต่ถ้าบอกว่ามันคือการดีไซน์แบบ Card ที่เป็นที่นิยมในหมู่นังออกแบบเว็บไซต์ หรือ แอพพลิเคชั่น  UI/UX น่าจะพอเข้าใจมากกว่า ซึ่งรูปแบบนี้เนี้ยไม่ใช่สิ่งใหม่ เพราะอย่างที่บอกว่ามันคือรูปแบบที่มักใช้ออกแบบ เว็บไซต์หรือ แอพพลิเคชั่นการมาซักพักใหญ่แล้ว โดยรูปแบบของมันก็จะเป็นการนำส่วนต่างๆมาสอดประสาน ซ้อนทับ หรือรวมเข้าด้วยกัน ด้วย Grid System ที่ถูกกำหนด แต่จะคงความยืดหยุ่นสามารถสลับย้ายตำแหน่งกันได้โดยที่ Theme โดยรวมไม่เปลี่ยนไป

เราจึงเห็นมันเป็นเหมือนการ์ดที่สามารถเลื่อนไปมา นำไปทับหรือสอดใว้ใต้การ์ดอื่นให้เห็นการ์ดแค่บางส่วนก็ยังได้

จากเว็บไซต์นี้นอกจากระบบระเบียบของ Layout ที่เป็น Grid ดูมีระเบียบเรียบร้อยแล้ว ความเป็น Modular อีกอย่างคือ Navigation ต่างๆที่ใช้จะมีลักษณะลอยมาด้านหน้าขณะใช้งานนั่นเอง

242-662x700Balraj Chana

หรือบางทีก็ไม่จำเป็นต้องจัดวางให้เป็นระเบียบเกินไปก็ย่อมได้ อย่างเช่นตัวอย่างด้านล่างที่จัดให้มีการวางที่เหลื่อมล้ำกันพอประมาณ

252-662x497Natalie Armendariz

หรือจะผสมกันโดยที่ Grid หลักก็ยังเป็นระเบียบเรียบร้อย แต่ก็มีการเหลื่อมหรือการผสานกันของกลุ่มก้อนที่น่าสนใจอยู่ด้วย

262-662x1258Julien Renvoye

 

7. Dramatic Typhography
มันคงไม่ใช่แค่การทำให้ตัวอักษรดูใหญ่ หนา เด่น ชัดอ่านง่ายเพียงเท่านั้น แต่การออกแบบ Typeface ที่ควรจะมาพร้อมกับ Story ที่บอกเล่าเรื่องราวและบุคลิก หรือที่มาที่ไปของตัวอักษรนั้นๆได้ด้วย อาจจะด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่นการใช้รูปทรง การทำเป็นงาน Craft หรือ การใช้ Texture ก็ได้

อย่างปก Magazine ก็ถูกสร้างขึ้นมาอย่างปราณีตสุดๆ ด้วยการใช้วัสดุจริงมาทำเป็น Typography แน่นอนว่ามันดูมีเสนห์กว่าการใช้ฟ้อนต์สำเร็จรูปเยอะเลย

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.09.30-PM-662x443SNASK

แต่ก็ใช่ว่าต้องทำมืออย่างเดียวเท่านั้นถึงจะมีเสน่ห์ได้ การจัดวางให้มีรูปแบบเฉพาะตัวก็สร้างบุคลิกภาพให้ชุดตัวอักษรนั้นได้เช่นกัน

291-662x828Brendan Prince

หรือแม้แต่การใช้เส้นและสี ที่เพิ่มเติมกิมมิกเล็กๆคือแสงเงาของการม้วนเป็นตัวอักษร แม้จะดูเรียบแต่ก็ไม่น่าเบื่อ

และสุดท้ายการจัดวางที่แปลกตามารวมกับ Texture ที่เข้ากันก็สร้างความน่าสนใจได้เช่นเดียวกัน

311-662x816Julie Joanny

8. Illustration เฉพาะตัว
ไม่ต้องกังวลเลยว่างาน Illustrate จะถูกงาน Graphic Stock เข้ามาแทนที่ ถึงแม้ยุคนี้จะมี Stock สำเร็จรูปให้เลือกซื้อมากมาย แต่ก็อย่างที่เราเห็นกันหลาย Illustration บางอย่าง มันซ้ำและดูดาษดื่น ซึ่งมันก็มีกลุ่มตลาดใหญ่ๆลองรับอยู่แล้วแหละ แต่ศิลปินภาพประกอบที่มีรูปแบบของงานที่ค่อนข้างเป็นตัวของตัวเอง แตกต่างโดดเด่น อาจจะงานเข้าได้ เพราะแบรนด์ต่างๆย่่อมไม่อยากให้ตัวเองดูซ้ำ การเลือกใช้ภาพประกอบที่แตกต่างและถูกสร้างสรรค์ขึ้นแบบเฉพาะตัว จึงเป็นแนวทางที่จะมีมากขึ้น

ยกตัวอย่างเช่นภาพหน้าเว็บด้านล่างนี้ที่เป็นภาพแนว Flat Design แต่ก็มีองค์ประกอบเฉพาะขององค์กรผสมไปด้วย

32Vlad Shagov

หรือ Dropbox เองก็มีการใช้ภาพประกอบในเนื้อหาบริการ ด้วยลายเส้นที่ถูกวาดขึ้นมาเพื่อ Dropbox เท่านั้น ที่ช่วยสื่อถึงอารมณ์สบายๆ ของแบรนด์

33
Dropbox

หรือแม้แต่บน Packaging เองก็ยังสามารถใช้ภาพประกอบที่มีความ Unique สูงมาก

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.16.48-PM-662x354Screen-Shot-2016-01-15-at-3.16.58-PM-662x352Saudade Tea’s

 

9.Abstract  Minimalistic
นี่คือสไตล์ที่เป็นเหมือนคู่ตรงข้ามกับกับความฉูดฉาดของยุค 80s เพราะมันคือความเรียบง่าย เส้นง่ายๆดูน้อย และมี Space เยอะ มาใช้งานร่วมกับรูปทรงที่ถูกบิดเบือนให้ดูเป็นนามธรรมแต่ยังคงความมินิมอลอยู่

ยกตัวอย่างเช่น Brand Identity ของสถาบันทางดนตรีที่หยิบเอารูปแบบส่วนหนึ่งของตัวโน๊ตมาทอนรูปทรงให้เรียบง่ายเหลือแค่เส้นกับสี่เหลี่ยมแต่ใช้การจัดวางเข้ามาช่วยทำให้มันดูรู้ว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับดนตรี

361-662x1321Aurėja Jucevičiūtė

นี่ก็เป็นอีกตัวอย่างของ Abstract ที่ถูกใช้ร่วมกับ Typo ธรรมดามากแต่มีสไตล์

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.20.00-PM-662x498Lukas Haider

และสุดท้ายมาดูกันที่ปกหนังสือพวกนี้ ที่แม้จะมีรูปทรงเรขาคณิตสีฉูดฉาด แต่พิ้นที่ส่วนใหญ่ก็เป็นพื้นขาว ( ความมินิมอลที่ชัดเจนอีกอย่างคือพื้นขาว แต่ถ้าเป็นสีต้องออกโทนสว่างมากๆเฉดพาสเทล ) มันจึงดูเรียบง่ายแต่ซ่อนนัยยะนามธรรมด้วยกราฟฟิกที่ดูนามธรรมนั่นเอง

Screen-Shot-2016-01-15-at-3.21.57-PM-662x704StudioBrave

39-662x296Kajsa Klaesén

นอกจากแนวการออกแบบที่มาแรงในปีนี้แล้ว การจะทำงานออกแบบหากเราไม่มีเวลาไปถ่ายภาพหรือวาดภาพที่มีขนาดไฟล์ใหญ่และมีความละเอียดพอที่จะนำมาใช้งานละก็ เว็บแจกภาพฟรียังมีอยู่มากให้ท่านได้นำมาใช้ เช่น

1.StockSnap.io

D2uxqVIcw6tSAAAAAElFTkSuQmCC

เว็บนี้รุปภาพเยอะ และสวยมาก มีขนาดใหญ่มาก และยังมีฟิลเตอร์ให้เราเลือก ว่าอยากดู ตามเทรน ตามยอดวิว หรือจำนวนดาวโหลด และที่สำคัญ ฟรี สามารถใช้ในเชิงธุรกิจ ดัดแปลง แก้ไขได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต

2.unsplash.com

aa

เป็นเว็บเจ้าแรกๆเลยที่แจกรูปให้ใช้ฟรี สวยๆ และเยอะมาก จะออกแนวสไตล์ อินดี้ๆ ชิคๆ  สโลแกนของเขา คือ Free (do whatever you want) high-resolution photos.

3. imcreator

imcreator

เว็บนี้จะเป็นเว็บที่ให้บริการสร้าง เว็บไซต์สำเร็จรูป ซึ่งเขาได้มี คลังรูปภาพ ไอคอน เทมเพลต ให้เราเลือกใช้งานฟรีๆ มากมาย กันเลย จุดเด่นคือ รูปภาพ สวยและมีขนาดใหญ่

ซึ่งภาพเหล่านี้จะอยู่ภายใต้ Creative Common ของแต่ละภาพ โดยส่วนใหญ่อนุญาตให้ใช้ในทางธุรกิจได้ สามารถแก้ไข ดัดแปลงได้ และแต่ละภาพก็จะมีบอกเงื่อนไขการใช้บอกอยู่ด้วย

4.Picjumbo

HNCK7802เว็บนี้ก็เหมาะสมกับชื่อเว็บเลยครับ ทั้งใหญ่ และสวย มีหลากหลายหมวดหมู่ ให้เลือก ใช้ฟรีได้ทั้งส่วนบุคคลและเชิงธุรกิจ

5.Gratisography

wPN0PnJj6QtuQAAAABJRU5ErkJggg==

เว็บน้องใหม่ ที่มีสไตลออกแนว กวนๆ ตลก ล้อเลียน มีรูปภาพเยอะมาก ทั้งสวยและขนาดไฟล์ใหญ่ให้เลือกนำไปใช้งาน

** แต่ถึงจะบอกไว้ว่า Free อย่าลืมที่จะอ่านเงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆ ที่บางเว็บไซต์ระบุไว้ด้วย เพื่อป้องกันการกระทำผิด พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ค่ะ


 

ที่มา :

https://idxw.net

http://finlawtech.com/

ใส่ความเห็น